.

.

วันพุธที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563

โครงการตามแผนงานยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อพัฒนาท้องถิ่น# มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ตำบลเกาะแก้ว อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด


โครงการเครือข่ายการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน


          กิจกรรมที่ 1 การสังเคราะห์และถอดบทเรียนการดำเนินงานด้านการบริหารจัดการ
                               ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดและ
                                                       สถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด
   
                           สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ได้ลงพื้นที่ดำเนินโครงการ
เครือข่ายการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นอย่าง
ยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ 2563 กิจกรรมที่ 1 การสังเคราะห์และถอดบทเรียนการดำเนินงานด้าน
การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดและสถานศึกษา
ในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด“ด้านการบริหารจัดการขยะ”เพื่อเป็นการสนองยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สภาพบริบท ปัญหาและอุปสรรค
ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของสถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด
ในปัจจุบัน เพื่อกำหนดแนวทางการยกระดับและการพัฒนาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมของสถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับพื้นที่ 
เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2563 ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด 
โดยมีอาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการ


โครงการตามแผนงานยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อพัฒนาท้องถิ่น# โรงเรียนบ้านดงหวาย ตำบลเกาะแก้ว อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด


โครงการเครือข่ายการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน



              กิจกรรมที่ 1 การสังเคราะห์และถอดบทเรียนการดำเนินงานด้านการบริหารจัดการ 
                                  ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดและ 
                                 
สถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด 

                     สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ได้ลงพื้นที่ดำเนินโครงการ
เครือข่ายการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นอย่าง
ยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ 2563 กิจกรรมที่ 1 การสังเคราะห์และถอดบทเรียนการดำเนินงานด้าน
การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดและสถานศึกษา
ในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด“ด้านการบริหารจัดการขยะ”เพื่อเป็นการสนองยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สภาพบริบท ปัญหาและอุปสรรค
ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของสถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด
ในปัจจุบัน เพื่อกำหนดแนวทางการยกระดับและการพัฒนาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมของสถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับพื้นที่ 
เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2563 ณ เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงเรียนบ้านดงหวาย ตำบลเกาะแก้ว อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ดโดยมีครูและนักเรียน จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการ


โครงการตามแผนงานยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อพัฒนาท้องถิ่น# โรงเรียนบ้านท่าม่วง ตำบลท่าม่วง อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด


โครงการเครือข่ายการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน


           กิจกรรมที่ 1 การสังเคราะห์และถอดบทเรียนการดำเนินงานด้านการบริหารจัดการ
                                ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดและ 
                                สถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด
      
                          สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ได้ลงพื้นที่ดำเนินโครงการ
เครือข่ายการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นอย่าง
ยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ 2563 กิจกรรมที่ 1 การสังเคราะห์และถอดบทเรียนการดำเนินงานด้าน
การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดและสถานศึกษา
ในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด“ด้านการบริหารจัดการขยะ”เพื่อเป็นการสนองยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สภาพบริบท ปัญหาและอุปสรรค
ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของสถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด
ในปัจจุบัน เพื่อกำหนดแนวทางการยกระดับและการพัฒนาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมของสถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับพื้นที่ 
เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงเรียนบ้านท่าม่วง หมู่ 4 ตำบลท่าม่วง อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยมีครูและนักเรียน จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการ

โครงการตามแผนงานยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อพัฒนาท้องถิ่น# โรงเรียนหนองส้าวโพนงอยประชาชื่น ตำบลเกษตรวิสัย อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด


โครงการเครือข่ายการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน


           กิจกรรมที่ 1 การสังเคราะห์และถอดบทเรียนการดำเนินงานด้านการบริหารจัดการ
                                 ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดและ 
                                 สถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด
      
                           สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ได้ลงพื้นที่ดำเนินโครงการ
เครือข่ายการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นอย่าง
ยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ 2563 กิจกรรมที่ 1 การสังเคราะห์และถอดบทเรียนการดำเนินงานด้าน
การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดและสถานศึกษา
ในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด“ด้านการบริหารจัดการขยะ”เพื่อเป็นการสนองยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สภาพบริบท ปัญหาและอุปสรรค
ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของสถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด
ในปัจจุบัน
เพื่อกำหนดแนวทางการยกระดับและการพัฒนาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมของสถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับพื้นที่
เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2563 ณ โรงเรียนหนองส้าวโพนงอยประชาชื่น หมู่ 5 ตำบลเกษตรวิสัย
อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยมีครูและนักเรียน จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการ



โครงการตามแผนงานยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อพัฒนาท้องถิ่น# โรงเรียนค้อใหญ่ชัยยุทธวิทยาตำบลค้อใหญ่ อำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด


โครงการเครือข่ายการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน


             กิจกรรมที่ 1  การสังเคราะห์และถอดบทเรียนการดำเนินงานด้านการบริหารจัดการ                                        ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดและ
                                สถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด   
                           สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ได้ลงพื้นที่ดำเนินโครงการ
เครือข่ายการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นอย่าง
ยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ 2563 กิจกรรมที่ 1 การสังเคราะห์และถอดบทเรียนการดำเนินงานด้าน
การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดและสถานศึกษา
ในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด“ด้านการบริหารจัดการขยะ”เพื่อเป็นการสนองยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สภาพบริบท ปัญหาและอุปสรรค
ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของสถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด
ในปัจจุบัน เพื่อกำหนดแนวทางการยกระดับและการพัฒนาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมของสถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับ
พื้นที่ เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2563 ณ โรงเรียนค้อใหญ่ชัยยุทธวิทยาตำบลค้อใหญ่ อำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด โดยมีครูและนักเรียน จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการ



โครงการตามแผนงานยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อพัฒนาท้องถิ่น# โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ธวัชบุรี ตำบลนิเวศน์ อำเภอธวัชบุรี อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด


โครงการเครือข่ายการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน


              กิจกรรมที่ 1 การสังเคราะห์และถอดบทเรียนการดำเนินงานด้านการบริหารจัดการ 
                               ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดและสถาน
                               ศึกษาในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด    
                    สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ได้ลงพื้นที่ดำเนินโครงการ
เครือข่าย
การเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นอย่าง
ยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ 2563 กิจกรรมที่ 1 การสังเคราะห์และถอดบทเรียนการดำเนินงานด้าน
การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดและสถานศึกษา
ในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด
“ด้านการบริหารจัดการขยะ”เพื่อเป็นการสนองยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สภาพบริบท ปัญหาและอุปสรรค
ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของสถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด
ในปัจจุบัน เพื่อกำหนดแนวทางการยกระดับและการพัฒนาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมของสถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับพื้นที่ 
เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2563 ณ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ธวัชบุรี ตำบลนิเวศน์ อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด โดยมีครูและนักเรียน จำนวน 30 คน เข้าร่วมโครงการ
  

โครงการตามแผนงานยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อพัฒนาท้องถิ่น# ชุมชนบ้านนิคมพัฒนา บ้านนากระตึบ และบ้านดอนหาด อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด


โครงการเครือข่ายการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
กิจกรรมที่ 1 การสังเคราะห์และถอดบทเรียนการดำเนินงานด้านการบริหารจัดการ
                     ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด และสถานศึกษา
                     ในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด 
     
                     สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ได้ลงพื้นที่ดำเนินโครงการ
เครือข่ายการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นอย่าง
ยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ 2563 กิจกรรมที่ 1 การสังเคราะห์และถอดบทเรียนการดำเนินงานด้าน
การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดและสถานศึกษา
ในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด“ด้านการบริหารจัดการขยะ”เพื่อเป็นการสนองยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สภาพบริบท ปัญหาและอุปสรรค
ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด
ในปัจจุบัน เพื่อกำหนดแนวทางการยกระดับและการพัฒนาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมของชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับ
พื้นที่ ระหว่างวันที่ 22-24 มกราคม 2563 ณ บ้านนิคมพัฒนา หมู่ 2 ตำบลเกาะแก้ว อำเภอเสลภูมิ 
จังหวัดร้อยเอ็ด บ้านนากระตึบ หมู่ 11 และบ้านดอนหาด หมู่ 6 ตำบลท่าม่วง อำเภอเสลภูมิ 
จังหวัดร้อยเอ็ด  โดยมีเจ้าหน้าที่เทศบาลตำบลท่าม่วง เทศบาลตำบลเกาะแก้ว และประชาชน
เข้าร่วมโครงการ ชุมชนละ 30 คน รวมจำนวนทั้งสิ้น 120 คน เข้าร่วมดำเนินโครงการ


โครงการตามแผนงานยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อพัฒนาท้องถิ่น# ชุมชนบ้านขมิ้น บ้านวังยาว และบ้านดงหวาย จังหวัดร้อยเอ็ด


โครงการเครือข่ายการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
 กิจกรรมที่ 1 การสังเคราะห์และถอดบทเรียนการดำเนินงานด้านการบริหารจัดการ 
                      ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด และสถานศึกษา
                      ในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด       
                      สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ได้ลงพื้นที่ดำเนินโครงการ
เครือข่ายการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นอย่าง
ยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ 2563 กิจกรรมที่ 1 การสังเคราะห์และถอดบทเรียนการดำเนินงานด้าน
การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดและสถานศึกษาใน
พื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด“ด้านการบริหารจัดการขยะ”เพื่อเป็นการสนองยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สภาพบริบท ปัญหาและอุปสรรค
ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด
ในปัจจุบัน เพื่อกำหนดแนวทางการยกระดับและการพัฒนาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมของชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับ
พื้นที่ ระหว่างวันที่ 15-16,21 มกราคม 2563 ณ บ้านขมิ้น หมู่ 8 ตำบลสระนกแก้ว อำเภอโพนทอง 
จังหวัดร้อยเอ็ด บ้านวังยาว หมู่ 18 ตำบลวังสามัคคี อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด และบ้าน
ดงหวาย หมู่ 8 ตำบลเกาะแก้ว อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด  โดยมีเจ้าหน้าที่เทศบาลตำบล
โพนทอง เทศบาลตำบลเกาะแก้ว องค์การบริหารส่วนตำบลวังสามัคคี และ ประชาชนเข้าร่วม
โครงการ ชุมชนละ 30 คน รวมจำนวนทั้งสิ้น 120 คน เข้าร่วมดำเนินโครงการ



โครงการตามแผนงานยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อพัฒนาท้องถิ่น # ชุมชนบ้านผือฮี บ้านกลาง และชุมชนวัดป่าเรไร จังหวัดร้อยเอ็ด

โครงการเครือข่ายการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
          กิจกรรมที่ 1 การสังเคราะห์และถอดบทเรียนการดำเนินงานด้านการบริหารจัดการ
                     
ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด และสถานศึกษา
                     
ในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด   
                       สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ได้ลงพื้นที่ดำเนินโครงการ
เครือข่ายการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นอย่าง
ยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ 2563 กิจกรรมที่ 1 การสังเคราะห์และถอดบทเรียนการดำเนินงานด้าน
การบริหารจัดการทรัพยากร
ธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดและสถานศึกษาใน
พื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด
“ด้านการบริหารจัดการขยะ”เพื่อเป็นการสนองยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเพื่อการพัฒนา
ท้องถิ่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สภาพบริบท ปัญหาและอุปสรรค
ด้านการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด
ในปัจจุบัน
เพื่อกำหนดแนวทางการยกระดับและการพัฒนาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
ของชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับพื้นที่ ระหว่างวันที่ 8-10 มกราคม 2563 ณ บ้านผือฮี หมู่ 2 ตำบลดงแดง อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด ชุมชนวัดป่าเรไร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด  และบ้านกลาง หมู่ 2 ตำบล
ค้อใหญ่ 
อำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด  โดยมีเจ้าหน้าที่เทศบาลตำบลดงแดง เทศบาลเมือง
ร้อยเอ็ด องค์การบริหารส่วนตำบลค้อใหญ่ และ ประชาชนเข้าร่วมโครงการ ชุมชนละ 30 คน รวม
จำนวน
ทั้งสิ้น 120 คน





โครงการตามแผนงานยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อพัฒนาท้องถิ่น # ชุมชนบ้านเหล่า บ้านประชาชื่น บ้านโพนงอย อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด

ครงการเครือข่ายการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
กิจกรรมที่ 1 การสังเคราะห์และถอดบทเรียนการดำเนินงานด้านการบริหารจัดการ            ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด และสถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด                                               
                     สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ได้ลงพื้นที่ดำเนินโครงการ
เครือข่ายการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นอย่าง
ยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ 2563 กิจกรรมที่ 1 การสังเคราะห์และถอดบทเรียนการดำเนินงานด้าน
การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดและสถานศึกษาใน
พื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด
ด้านการบริหารจัดการขยะเพื่อเป็นการสนองยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สภาพบริบท ปัญหาและอุปสรรค
ด้านการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด
ในปัจจุบัน
เพื่อกำหนดแนวทางการยกระดับและการพัฒนาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมของชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับ
พื้นที่ ระหว่างวันที่ 21-25 ธันวาคม 2562 ณ บ้านเหล่า หมู่ 10 ตำบลหนองแวง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด บ้านประชาชื่น หมู่ 18 ตำบลเกษตรวิสัย อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด และ
บ้านโพนงอย หมู่ 11 ตำบลเกษตรวิสัย อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยมีเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลหนองแวง องค์การบริหารส่วนตำบลเกษตรวิสัย ประชาชนเข้าร่วมโครงการ
ชุมชนละ 30 คน รวมจำนวนทั้งสิ้น 120 คน เข้าร่วมดำเนินโครงการ






วันจันทร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563

ประชุมร่วมกับหน่วยงานในระบบ​วิทยาศาสตร์​ วิ​จัยและ​นวัตกรรม​ เพื่อชี้แจงนโยบายการจัดสรร​ และแนวปฏิบัติ​การบริหารจัดการงบประมาณ​ด้านวิทยาศาสตร์​ วิ​จัยและ​นวัตกรรม​ พ.ศ. 2563​ -​ 2564

เมื่อวันที่ 11 ก.พ. 63สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด โดยอาจารย์ ดร.การุณ พงศ์ศาสตร์ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ ได้เข้าร่วมประชุมร่วมกับหน่วยงานในระบบ​วิทยาศาสตร์​ วิ​จัยและ​นวัตกรรม​ เพื่อชี้แจงนโยบายการจัดสรร​ และแนวปฏิบัติ​การบริหารจัดการงบประมาณ​ด้านวิทยาศาสตร์​ วิ​จัยและ​นวัตกรรม​ พ.ศ. 2563​ -​ 2564 ณ ห้องวิภาวดีบอลรูม​ เอ-บี​ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์​ แอท​ เซ็นทรัลพลาซ่า​ ลาดพร้าว กรุงเทพฯ​ ได้กล่าวถึงนโยบายการจัดสรรงบประมาณ​ด้าน​ ววน.​ ปี​ 2563​ -​ 2564 ว่า​ จากการปรับเปลี่ยนระบบครั้งใหญ่นี้​ จะช่วยให้ประเทศ​เห็นภาพรวม​ (Overview) การลงทุนในระบบ​ ววน.​ ทั้งหมด​ โดยมีการกำหนดเป้าหมายและทิศทาง​อย่างชัดเจน​ มีกลไกกำกับที่แน่นอน​ และใช้ใช้งบประมาณ​เป็นตัว การออกแบบระบบใหม่​ (new system) ที่กำลังจะเกิดขึ้น​ว่า​ ระบบใหม่นี้​ถือเป็นการรวมระบบใหญ่​ 3 ระบบเข้าด้วยกัน​ คือ​ TIRAs, EPMS และ NRMS ซึ่งจะช่วยให้ สำนักงบประมาณ​ หน่วยงานต่างๆ​ PMU​ ผู้ทรงคุณวุฒิ​ ผู้ประสานงาน​ หรือแท้กระทั่งนักวิจัย​ สามารถเข้าถึงงานวิจัยทั้งหมดที่ได้งบประมาณจากกองทุน​ ววน.​ โดยมีเป้าหมายสำคัญเพื่อสร้างฐานข้อมูลงานวิจัยของประเทศทั้งหมด ชี้แจงแนวปฏิบัติ​การบริหารจัดการงบประมาณ​ ววน.​ ปี​ 2563​ -​ 2564 โดยงบประมาณปี​ 2563​ ส่วนใหญ่จะจัดสรรให้แพลตฟอร์ม​ที่​ 3 : การวิจัยและสร้างนวัตกรรม​เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ​ใน​การ​แข่งขัน​ มากถึง​ 42.42% รองลงมาคือแพลตฟอร์ม​ที่​ 1 : การพัฒนา​กำลังคนและสถาบันความรู้​ 22.38% อันดับสามคือแพลตฟอร์ม​ที่​ 2 : การวิจัยและสร้างนวัตกรรม​เพื่อตอบโจทย์ความท้าทายของสังคม​ 17.90%